ข้อ 70 ตอบข้อ 1 เมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้วจะได้ 2 7 คือ หมู่ 7 คาบ 2 นั่นคือ F ซึ่งอยู่ในรูปของ Diatomic molecule
ข้อ 71 ตอบข้อ 4 เพราะ ข้อ 1 2 ถูก ฟลูออรีนอยู่ในสถานะแก๊ส ไอออนมีประจุ -1 ซึ่งเมื่อเกิดสารประกอบกับ Ca ซึ่งเป็นโลหะ
ข้อ 21 ตอบข้อ 4
ข้อ 1 ถูก อ้างอิงจากแบบเรียน สารและสมบัติของสารหน้า 30 เรื่องกรดนิวคลีอิก
ข้อ 2 ถูก (ไม่มีในแบบเรียนสารและสมบัติของสาร)
เหตุผล ก คือแป้ง ข คือ น้ำตาลทราย ค คือ เส้นใยพืช(ไหมเป็นเส้นใยสัตว์ ซึ่งถือเป็นเส้นใยโปรตีน) ง คือน้ำตาลอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่น้ำตาลทราย
ข้อ 25 ตอบข้อ 1
การเกาะเกี่ยวของคู่เบสจะมีความจำเพาะเจาะจง คือ
อะนะดีน(A) กับ ไทมีน (T)
กวานีน(G) กับ ไซโตซีน (C)
การเกาะเกี่ยวของคู่เบสจะมีความจำเพาะเจาะจง คือ
อะนะดีน(A) กับ ไทมีน (T)
กวานีน(G) กับ ไซโตซีน (C)
ข้อ 24 ตอบข้อ ไม่มีคำตอบ
ปล. ข้อ 1 จะเกิด 6 ชนิด
ข้อ 2 การทดสอบโปรตีนทดสอบด้วย CuSO4 ในเบส ให้สารสีน้ำเงินม่วงซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างทองแดงกับ สารที่มีพันธะเปปไทด์ 2 พันธะขึ้นไป (ขอบคุณ น้อง kasama จาก ตอ.)
อ้างอิงจาก หนังสือกวดวิชาเคมี อ.อุ๊ บท สารชีวโมเลกุล หน้า 142
ข้อ 3 พันธะเปปไทด์ 2 พันธะ
ปล. ข้อ 1 จะเกิด 6 ชนิด
ข้อ 2 การทดสอบโปรตีนทดสอบด้วย CuSO4 ในเบส ให้สารสีน้ำเงินม่วงซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างทองแดงกับ สารที่มีพันธะเปปไทด์ 2 พันธะขึ้นไป (ขอบคุณ น้อง kasama จาก ตอ.)
อ้างอิงจาก หนังสือกวดวิชาเคมี อ.อุ๊ บท สารชีวโมเลกุล หน้า 142
ข้อ 3 พันธะเปปไทด์ 2 พันธะ
1.เมื่อพิจารณาจากการจัดเรียงอิเล็กตรอน ไอออนที่น่าจะมีความเสถียรมากที่สุดคือชนิดใด
1.H+ 2.He+ 3.He2+ 4.Li+
ข้อ 1. ตอบ 4.Li+ เหตุผล ไอออนหรือธาตุจะมีความเสถียรเมื่อมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบก๊าซเฉื่อย Li+ จัดเรียงได้เป็น 2 ซึ่งเหมือนกับ He
2.ไอออนของธาตุ X มีจำนวนโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอนเท่ากับ 9 10 10 ตามลำดับ ธาตุ X มีสัญลักษณ์เป็นไปตามข้อใด
ข้อ 2. ตอบข้อ 1 เพราะ มีโปรตอน 9 แสดงว่าเลขข้างล่าง คือ 9 นิวตรอน 10 แสดงว่า เลขบน-เลขล่าง คือ 10
3.สารบริสุทธิ์ของธาตุ X ในข้อที่ 2. มีสูตรโมเลกุลตามข้อใด
ข้อ 3. ตอบข้อ 1 เมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้วจะได้ 2 7 คือ หมู่ 7 คาบ 2 นั่นคือ F ซึ่งอยู่ในรูปของ Diatomic molecule
4.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของธาตุ X ในข้อที่ 2.
ข้อ 4. ตอบข้อ 4 เพราะ ข้อ 1 2 ถูก ฟลูออรีนอยู่ในสถานะแก๊ส ไอออนมีประจุ -1 ซึ่งเมื่อเกิดสารประกอบกับ Ca ซึ่งเป็นโลหะ หมู่ 2 จะมีสูตร CaX2
5.กำหนดโครงสร้างของกรดอะมิโน A B และ C โดย A และ B เป็นกรดอะมิโนจำเป็น
ข้อ 5. ตอบข้อ ไม่มีคำตอบ
เพิ่มเติม
เพิ่มเติม
ข้อ 1 จะเกิด 6 ชนิด
ข้อ 2 การทดสอบโปรตีนทดสอบด้วย CuSO4 ในเบส ให้สารสีน้ำเงินม่วงซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างทองแดงกับ สารที่มีพันธะเปปไทด์ 2 พันธะขึ้นไป (ขอบคุณ น้อง kasama จาก ตอ.)
อ้างอิงจาก หนังสือกวดวิชาเคมี อ.อุ๊ บท สารชีวโมเลกุล หน้า 142
ข้อ 3 พันธะเปปไทด์ 2 พันธะ
ข้อ 2 การทดสอบโปรตีนทดสอบด้วย CuSO4 ในเบส ให้สารสีน้ำเงินม่วงซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างทองแดงกับ สารที่มีพันธะเปปไทด์ 2 พันธะขึ้นไป (ขอบคุณ น้อง kasama จาก ตอ.)
อ้างอิงจาก หนังสือกวดวิชาเคมี อ.อุ๊ บท สารชีวโมเลกุล หน้า 142
ข้อ 3 พันธะเปปไทด์ 2 พันธะ
6.ข้อใดถูกต้อง เกี่ยวกับสมบัติของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมีที่ได้จากการกลั่นปืโตรเลียม
1. มีจุดเดือดสูงกว่าน้ำมันดีเซล
2.เป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่ละลายน้ำได้
3.มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
4.ประกอบด้วบสารไฮโดรคาร์บอนที่มีจำนวนคาร์บอนน้อยกว่า 5 อะตอม
ข้อ 6 ตอบข้อ 3
ข้อ 1 น้ำมันเบนซินมีจุดเดือด 250-340 องซาเซลเซียส
ข้อ 2 ไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดไม่ละลายน้ำเพราะไม่มีขั้ว
ข้อ 4 จำนวนคาร์บอนของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมี คือ 6-12
7.ไฮโดรเจนเป็นแก๊สที่เบาที่สุด ใช้ทำให้บอลลูนลอยตัวขึ้นในอากาศได้ แต่ในทางปฏิบัติ จะใช้แก๊สฮีเลียมซึ่งหนักกว่า เพราะเหตุผลตามหลักข้อใด
1.แก๊สไฮโดรเจนติดไฟได้ง่าย
2.แก๊สไฮโดรเจนมีราคาแพงกว่าแก๊สฮีเลียม
3.ต้องใช้แก๊สไฮโดรเจนปริมาณมากกว่าการใช้ฮีเลียม
4.ฮีเลียมแยกได้จากธรรมชาติ แต่แก๊สไฮโดรเจนต้องผ่านกระบวนการผลิต
ข้อ 7. ตอบข้อ 1
8.ข้อใดระบุชนิดของแก๊สและกรดที่เกิดจากการนำแก๊สนั้นำและลายในน้ำได้ถูกต้อง
1.อีเทน - กรดน้ำส้ม
2. คลอรีน - กรดเกลือ
3. ไนโตรเจน - กรดไนตริก
4. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ - กรดซัลฟิวริก
ข้อ 8. ตอบข้อ 2 Cl2+H2O ---> HClO(กรดไฮโปคลอรัส)+HCl(กรดเกลือ/กรดไฮโดรคลอริก)
ข้อ 1 อีเทน ไม่ละลายน้ำ
ข้อ 4 ได้กรดซัลฟิวรัส
ข้อ 4 ได้กรดซัลฟิวรัส
9.
1.แก๊สไฮโดรเจน
2.แก๊สโซฮอล์
3.แก๊สบิวเทน
4.แก๊สธรรมชาติ
ข้อ 9 ตอบข้อ 1 เพราะ จะเผาไหม้ได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำได้ต้องเป็นสารอินทรีย์ และเกิดการเผาไหม้แบบเผาไหม้สมบูรณ์
เพิ่มเติม
ข้อ 2 แก๊สโซฮอล์ คือ เอทานอล + น้ำมันเบนซิน
ข้อ 4 แก๊สธรรมชาติ หมายถึง แก๊สมีเทน
ข้อ 2 แก๊สโซฮอล์ คือ เอทานอล + น้ำมันเบนซิน
ข้อ 4 แก๊สธรรมชาติ หมายถึง แก๊สมีเทน
10.
ข้อใดสรุปไม่ถูกต้อง
1. X กับ Y เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน
2. Y กับ Z เป็นสารละลายชนิดเดียวกัน
3. Y กับ Z ทำปฏิกิริยากันโดยไม่คายความร้อน
4. Y กับ Z เป็นสารละลายต่างชนิดที่ไม่ทำปฏิกิริยากัน
ข้อ 10 ตอบข้อ 1 เพราะ อุณหภูมิต่ำลงเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น